Thai Civilization/Thai Literature
Thai Literature
[edit | edit source]One of the British ambassadors to Thailand used to opine that Thailand is a country with no literature. Here's his exact language:
"They (Thais) have no literature, no painting and only a very odd kind of music; their sculpture, ceramics and dancing are borrowed from others, and their architecture is monotonous and interior decoration hideous."
Sir Antony Rumbold (British Ambassador to Thailand From 1965-1967)
The above quote has created a lot of comments in Thai society. Even though Sir Rumbold's comment was direct and personal, it is useful and should be viewed as a feedback from a true friend. For one thing, it helps Thais to investigate their own intellectual culture in relation with the world
Thai Literature can be divided into four periods:
Traditionally, Thai literature is an oral one.
Mi Nam Chang Mi Moung;(If there is water, there is a town.) Mi Moung Chang Mi Tao.(When there is a town, there is a ruler.)
(Source, Cam Troung, 2007, p. 4)
The Sukhothai Period
The Ayudthaya Period
The Thonburi Period
The Bangkok Period
Five Thai Verse Forms
[edit | edit source]1)โคลง 2) ร่าย 3) ฉันท์ 4) กาพย์ 5) กลอน
By Janpha Thadphoothon
1. Khlong Khlong can be termed as the earliest forms of Thai poetry. Educated and sophisticated people generally follow Khlong since it is considered as an intellectual form of poetry. Khlong has different and elaborate tonal and rhythmic constrains and has been developed on the basis of Thai language.
Ex.
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
ลิลิตพระลอ
โคลงกระทู้ (Khlong Poems by Topics or Themes) กวน ตะกอนสงบแล้ว กลับมา น้ำ ขุ่นคลักอีกครา สุดใช้ ให้ คนตัดปัญหา เหตุแห่ง เคืองแล ขุ่น ข่มจิตสงบไว้ อย่าได้ฟื้นความ
ครูภาทิพ ศรีสุทธิ์
คน เกิดมามิได้ มีใคร กำหนด
ดี ชั่วตัวทำไป ย่อมรู้
คน สูงต่ำดูใจ หาใช่ กายา
เลว อย่าทำคือผู้ ทั่วหล้า นิยม
2. Raay ร่าย
พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) สันนิษฐานว่าร่ายเป็นของไทยแท้ มีมาแต่สมัยพ่อขุนรามคำแหง ด้วยปรากฏหลักฐานครั้งแรกในวรรณคดีสุโขทัยคือสุภาษิตพระร่วง และต่อมาจึงปรากฏเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในวรรณคดีอยุธยาเรื่องโองการแช่งน้ำในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
ร่ายเป็นร้อยกรองแบบหนึ่ง มีสี่ประเภทได้แก่ ร่ายยาว (Long) ร่ายสุภาพ (Courteous) ร่ายดั้น (Harsh) และร่ายโบราณ (Traditional) ร่าย คือ คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่งที่แต่งง่ายที่สุด และมีฉันทลักษณ์น้อยกว่าร้อยกรองประเภทอื่น ถ้าพิจารณาให้ดีจะพบว่าร่ายมีลักษณะใกล้เคียงกับคำประพันธ์ประเภทร้อยแก้วมาก เพียงแต่กำหนดที่คล้องจองและบังคับวรรณยุกต์ในบางแห่ง
Raay is one of the oldest verse forms of Thai poetry generally used for drafting laws and chronicles. Raay typically contains a five-syllable group of sentence that is linked together by a rhyme. This form of poetry usually contains more than one sentence in a single stanza. Syllable number and tone placement are very much similar in Raay and Khlong. Lilit is another form of Thai poetry where raay and khloong are alternately used.
ร่ายยาว
ร่ายยาว คือ ร่ายที่ไม่กำหนดจำนวนคำในวรรคหนึ่ง ๆ แต่ละวรรคจึงอาจมีคำน้อยมากแตกต่างกันไป การสัมผัส คำสุดท้ายของวรรคหน้าสัมผัสกับคำหนึ่งคำใดในวรรคถัดไป จะแต่งสั้นยาวเท่าไรเมื่อจบนิยมลงท้ายด้วยคำว่า แล้วแล นั้นแล นี้เถิด โน้นเถิด ฉะนี้ ฉะนั้น ฯลฯ เป็นต้น
ตัวอย่าง โพธิสตฺโต สมเด็จพระบรมโพธิสัตว์ อันสร้างสมดึงส์ปรมัตถบารมี เมื่อจะรับวโรรัตนเรืองศรีแปดประการ แด่สำนักนิท้าวมัฆวานเทเวศร์ ก็ทูลแก่ท้าวสหัสเนตรฉะนี้
Khloong and Raay are believed to be the original Thai forms of poetry.
3. Chan
This poetry contains two types of syllables called the light or lahu and heavy or kharu. These syllables are arranged in innumerable and different forms and sequences.
There are up to 108 varieties of Chan. ฉันท์ คือลักษณะถ้อยคำ ที่กวีได้ร้อยกรองขึ้น ไห้เกิดความไพเราะ ซาบซึ้ง โดยกำหนดคณะ ครุลหุ และสัมผัสไว้ เป็นมาตรฐาน ฉันท์นี้ไทยได้ถ่ายแบบมาจากอินเดีย ของเดิมแต่งเป็นภาษาบาลี และสันสกฤต จิตรปทาฉันท์ ๘ cittapathaachan 8
ตัวอย่าง:
มาณวกฉันท์ ๘ maanawakkachan 8
ตัวอย่าง:
4. Kaab
Kaap. It has a definite rhythm and requires a fixed number of syllables. Although the rhythm is similar to Chan form of poetry, Kaap does not require the use of lahu and kharu syllables for making tone. There are several variations inside Kaap depending on the number of syllables per line. The most common are the yaanii that contains eleven syllables per line, cha-bang that has sixteen syllables and suraangkhanaang having twenty-eight syllables per line.
วิชาเหมือนสินค้า อันมีค่าอยู่เมืองไกล
ต้องยากลำบากไป จึงจะได้สินค้ามา
จงตั้งเอากายเจ้า เป็นสำเภาอันโสภา
ความเพียรเป็นโยธา แขนซ้ายขวาเป็นเสาใบ
5. Klon The most popular or the poetic form for the mass. A klon poem consists of 4 lines. Each line must have 6-8 syllables.
แต่ปางหลังยังมีกรุงกษัตริย์ สมมุติวงศ์ทรงนามท้าวสุทัศน์ ผ่านสมบัติรัตนานามธานี อันกรุงไกรใหญ่ยาวสิบเก้าโยชน์ ภูเขาโขดเป็นกำแพงบูรีศรี สะพรึบพร้อมไพร่ฟ้าประชาชี ชาวบูรีหรรษาสถาวร มีเอกองค์นงลักษณ์อรรคราช พระนางนาฏนามประทุมเกสร สนมนางแสนสุรางคนิกร ดังกินนรน่ารักลักขณา มีโอรสสององค์ล้วนทรงลักษณ์ ประไพพักตรเพียงเทพเลขา ชื่ออภัยมณีเป็นพี่ยา พึ่งแรกรุ่นชันษาสิบห้าปี อันกุมารศรีสุวรรณนั้นเป็นน้อง เนื้อดังทองนพคุณจำรุณศรี พึ่งโสกันต์ชันษาสิบสามปี พระชนนีรักใคร่ดังนัยนาฯ
บัดนั้น พระยาพิเภกยักษี เห็นพระองค์ทรงโศกโศกี อสุรีกราบลงกับบาทา ทูลว่าพระลักษณ์สุริยวงศ์ ยังไม่ปลงชีวังสังขาร์ อันโมกขศักดิ์อสุรา พรหมาประสิทธิ์ประสาทไว้
ทรงอานุภาพฤทธิรุทร ต้องใครจะฉุดนั้นไม่ไหว แต่มียาคู่หอกชัย ให้ไว้สำหรับแก้กัน แม้นละไว้จนรุ่งราตรี ต้องแสงพระระวีจะอาสัญ ขอให้ลูกพระพายเทวัญ ไปห้ามพระสุริยันในชั้นฟ้า อย่าเพ่อรีบรถบทจร ข้ามยุคนธรภูผา แล้วให้ไปเก็บตรีชวา ทั้งยาชื่อสังขรณี ยังเขาสรรพยาบรรพต ปรากฏอยู่ยอดคีรีศรี กับปัญจมหานที สรรพยาทั้งนี้มาให้ทัน แม้นว่าได้บดชโลมลง องค์พระอนุชาไม่อาสัญ จะดำรงคงชีพชีวัน หอกนั้นก็จะหลุดขึ้นมา
จากเรื่อง รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1
จะกล่าวถึงพลายแก้วแววไว เมื่อบิดาบรรลัยแม่พาหนี ไปอาศัยอยู่ในกาญจนบุรี กับนางทองประศรีผู้มารดา อยู่มาจนเจ้าเจริญวัย อายุนั้นได้ถึงสิบห้า ไม่วายคิดถึงพ่อที่มรณา แต่นึกตรึกตรามากว่าปี อยากจะเป็นทหารชาญชัย ให้เหมือนพ่อขุนไกรที่เป็นผี จึงอ้อนวอนมารดาให้ปราณี ลูกนี้จะใคร่รู้วิชาการ
This is another example of a 8-syllable klon.
เศรษกิจพอเพียงเพียงพอใช้
ทรัพย์ที่ได้พึงประมาณการซื้อหา
รู้พอดีเก็บหอมออมเงินตรา
เพื่อวันหน้าคราลำบากไม่ยากจน
References
ฉันท์ http://thai.hawaii.edu/thaiarc/poetry/chan/index.html [14 January 2010]
Types of Thai Poetry http://www.thailandbuddy.com/learning-thai-language/Types-of-Thai-Poetry.html [14 January 2010]
ร่าย http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2 [14 January 2010]